สมุนไพร

ใส่ , เพื่อค้นหามากกว่าหนึ่ง เช่น มะเร็ง,ปวดท้อง

ชนิดสมุนไพร

ตำแหน่งสมุนไพร

ข้อมูลพืชสมุนไพร

ลำดับ ชื่อพืชสมุนไพร การใช้ประโยชน์ สรรพคุณ
1 ต้าง ตำรายาพื้นบ้านล้านนาจะใช้ใบต้างใหญ่ นำมาอังไฟแล้วใช้นาบที่ข้อเป็นยาบรรเทาอาการปวดบวมตามข้อ : ดูดสารพิษ
2 พลูคาว ช่วยเสริมภูมิคุ้มกัน ช่วยลดการติดเชื้อ ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง ช่วยบำบัดฟื้นฟูโรค :
3 ตดหมา ทั้งต้นมีรสขม สรรพคุณเป็นยาอายุวัฒนะ (ทั้งต้น) ใบมีรสขม ใช้ทำเป็นอาหารบำรุงกำลังคนฟื้นไข้หรือคนชรา : แก้ตัวร้อน ขับลม แก้ท้องเสีย ขับพยาธิตัวกลม ถอนพิษอาหาร
4 ก้นครก รากเข้าตำรับยา เป็นยาบำรุงเลือด ขับเลือดในผู้หญิง แก้หมาดขาว แก้ไข้ : ใช้เป็นยาระบาย
5 เงี่ยงปลาดุก ผลสุก รสหวาน เป็นยาเย็น ใช้รากทุบ ทารักษาแผล เท้าเปื่อย : แก้ช้ำใน
6 กาวเคลือ บำรุงเนื้อหนังให้เต่งตึง ช่วยขยายทรวงอกให้มีขนาดใหญ่ขึ้น แก้ปัญหาทรวงอกหย่อนคล้อย ให้กลับมาเต่งตึง : บำรุงผิวหนังให้เต่งตึก และมดลูก
7 พลูคาว ช่วยเสริมภูมิคุ้มกัน ช่วยลดการติดเชื้อ ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง ช่วยบำบัดฟื้นฟูโรค :
8 ทองพันชั่ง ราก - แก้กลากเกลื้อน รักษาโรคมะเร็ง รักษาโรคผิวหนัง ดับพิษไข้ แก้พิษงู แก้พยาธิวงแหวนตาผิวหนัง : รักษากลากเกลื้อน ผิวหนังผื่นคัน แก้พิษแมลงต่างๆ
9 เครืออีสิง ทั้งต้นใช้เป็นยาแก้ไอ รากใช้เป็นยาแก้อาหารไม่ย่อย ทั้งต้นใช้เป็นยาแก้บิด : แก้ปวดท้อง
10 ไหลอือคือ เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ บ้านหมุน หูอื้อ : รักษาโรคทางระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะอาการไอ หลอดลมอักเสบ หอบหืด และมีฤทธิ์ขับพยาธิ แก้บิด ดีซ่าน
11 ตูมกา ตำรายาไทยจะใช้เมล็ดแก่แห้ง (โกฐกะกลิ้ง) เป็นยาขมเจริญอาหาร แก้กระษัย ช่วยขับน้ำย่อย แก้อิดโรย : เป็นยาขมเจริญอาหาร แก้กระษัย ช่วยขับน้ำย่อย แก้อิดโรย
12 คัดเค้า ใช้ผล 1 กำมือ ต้มกับน้ำ 1 ถ้วยแก้ว รับประทานวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ขับประจำเดือน : บำรุงโลหิต
13 รีแพร์ หญ้ารีแพร์ ยังคงเป็นสมุนไพรบำรุงสตรีที่ได้รับความนิยมอย่างมากมาย ด้วยสรรพคุณของหญ้ารีแพร์ที่ช่วยกระชับช่องคลอด คืนความสาวให้คุณผู้หญิงด้วยวิธีธรรมชาติ ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจที่บรรดาสาวน้อยสาวใหญ่จะเทใจมาทางสมุนไพรไทยอย่างหญ้ารีแพร์มากกว่าไปสนใจในเทคโนโลยีที่สามารถกระชับช่องคลอดได้เช่นกัน : แก้ปวดเมื่อย ขับปัสสาวะ สมานแผล กระชับผิวหนังให้เต่งตึง ลดอาการอักเสบ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็ว กระชับ
14 ส้มเสี้ยว ใบ - มีรสเปรี้ยวฝาด เป็นยาขับโลหิตระดู และขับปัสสาวะ - แก้แผลเปื่อยพัง ใช้ใบส้มเสี้ยวร่วมกับยาระบาย ทำให้ขับเมือกเสมหะตกทางทวารหนักได้ดี ใช้ร่วมกับยาบำรุงโลหิตระดูที่เป็นลิ่มเป็นก้อนมีกลิ่นเหม็นให้ปกติดีขึ้น เปลือกต้น - รสเปรี้ยวฝาด แก้ไอ ฟอกโลหิต : ขับโลหิตระดู ขับปัสสาวะ
15 ส้มป่อย ใบ: รสเปรี้ยว ฝาดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณช่วยขับเสมหะ ขับระดูขาว แก้บิด ฟอกโลหิต แก้โรคตา ดอก: รสเปรี้ยว ฝาด มัน แก้เส้นเอ็นพิการให้สมบูรณ์ ฝัก: รสเปรี้ยว เป็นยาขับเสมหะ แก้ไอ ทำให้อาเจียน แก้น้ำลายเหนียว แก้โรคผิวหนัง ช่วยขจัดรังแค และบำรุงเส้นผม ตำรายาไทยใช้สระผมแก้รังแค ต้นน้ำอาบหลังคลอด หรือชุบสำลีปิดแผลโรคผิวหนัง เปลือก: รสขมเปรี้ยว เผ็ดปร่า เจริญอาหารกัดเสมหะ แก้ไอ แก้ซางเด็ก ต้น: รสเปรี้ยวฝาดแก้ตาพิการ ราก: รสขม แก้ไข้ แก้ท้องร่วง : แก้ตาพิการ
16 มะหวด ราก ใช้แก้ไข้ แก้พิษฝีภายใน ตำพอกศีรษะแก้ไข้ ปวดศีรษะ และพอกรักษาโรคผิวหนังผื่นคัน เมล็ด แก้โรคไอหอบ ไข้ซางในเด็ก ไอกรน ผล บำรุงกำลัง รากผสมสมุนไพรอื่น ต้มนํ้าดื่มแก้ซาง : แก้ปวดขา
17 ย่านาง ต้น รสจืดขม ถอนพิษผิดสำแดง รักษาพิษไข้ แก้ไข้ตัวร้อน แก้ไข้กลับ และรักษาโรคปวดข้อ ราก รสจืดขม ใช้แก้ไข้ทุกชนิด ขับพิษต่างๆ แก้ท้องผูก บำรุงหัวใจ บำรุงธาตุ แก้โรคหัวใจบวม แก้กำเดาไหล และแก้ลม ใบ รสจืดขม ใช้ถอนพิษไข้ แก้ไข้ แก้เลือดตก แก้กำเดา แก้ผดผื่นคัน แก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ แก้ลม แก้ปวดหัวตัวร้อน อีสุกอีใส หัด และใช้เป็นยากวาดคอ เถา แก้ไข้ ลดความร้อนในร่างกาย ต้านโรคมาลาเรีย และยับยั้งการหดเกร็งของลำไส้ : ช่วยยับยั้งเซลล์มะเร็งท่อน้ำดี , ต้านเชื้อมาลาเรียได้
18 สะเดา ดอกช่อดอก ขนอ่อน ยอด เปลือก ก้านใบ กระพี้ ยาง แก่น ราก ใบ ผล ต้น เปลือกราก น้ำมันจากเมล็ด : ใช้ลดไข้
19 นางดำ - ใช้ฝนทาแก้เม็ดผื่นคัน prurigo - เป็นยาขับลมในลำไส้และแก้ปวดท้อง - ใช้ตำพอกแก้ฟกช้ำ และข้อเคล็ด : แก้ร้อนใน
20 ก้ามปู ใบ ทำให้เย็น ดับพิษ แก้ปวดแสบปวดร้อน เมล็ด รสฝาด แก้โรคผิวหนัง กลากเกลื้อน เรื้อน แก้เยื่อตาอักเสบ : ดับพิษ แก้ปวดแสบปวดร้อน
21 ใต้ใบ ทั้งต้น ช่วยลดไข้ทุกชนิด (ไข้หวัด ไข้ทับระดู ไข้จับสั่น) ขับระดูขาว แก้น้ำดีพิการ แก้ดีซ่าน แก้ขัดเบา แก้ไอ แก้กามโรค แก้ปวดฝี ขับปัสสาวะ แก้ร้อนในกระหายน้ำ แก้ท้องเสีย ต้น มีสรรพคุณช่วยลดไข้ แก้บวม แก้ปัสสาวะขัด แก้นิ่ว แก้ปวดฝี แก้ฟกช้ำบวม ลูก (ผล) แก้ร้อนใน แก้ไข้ ราก ช่วยแก้ไข้หวัด แก้ท้องเสีย แก้บวม แก้ปัสสาวะขัด แก้นิ่ว ขับปัสสาวะ : แก้หวัด แก้ไอ
22 ค้อนกระแต ตำรับยา ยาแก้ปวดเข่าเรื้อรัง หัวค้อนกระแต เถาเอ็นอ่อน หัวเข้าคลอน ต้มกิน ยาแก้กษัย แก้ปวดเมื่อย แก่นจำปา รากเปล้า ยาหัวหรือหัวค้อนกระแต เครือเขาปลอก ตาไก้ ตากวง ต้มกินเป็นยาระบาย แก้กษัย แก้ปวดเมื่อย ยารักษาโรคมะเร็ง หัวค้อนกระแต หัวข้าวเย็นเหนือ ลำต้นส้มกุ้ง เปลือกต้นสะเดาช้าง และลำต้นขมิ้นเครือ ต้มน้ำดื่ม แก้มะเร็ง ยารักษาโรคมะเร็ง ให้เอาแก่นค้อแลนหนึ่ง รากแฮนกวงหนึ่ง รากโกทาหนึ่ง แก่นข่าลิ้นหนึ่ง ยาหัวค้อน กระแตหนึ่ง ดูกใสหนึ่ง แก่นกะยูงหนึ่ง อ้อยดำหนึ่ง ต้มกิน(เสมอภาค) คาย ๕ บาท บ่แตกปัวเทินหายแลฯ บำรุงน้ำนมตอนแม่อยู่ไฟ ยาหัวข้อ(หัวค้อนกระแต) หนาด เป้า ต้มกิน : แก้มะเร็ง
23 เอี้ยงหมายนา เอื้องหมายนาเป็นดอกไม้ที่นิยมตัดประดับแจกันทั้งต้นที่มีช่อดอกเนื่องจากทั้งต้นและกาบประดับสวยงามแปลกตา นอกจากนี้ยังปลูกเป็นไม้ประดับอีกด้วย นอกจากนั้นยังใช้เป็นอาหารสัตว์ โค กระบือ สมุนไพร ลำต้นใต้ดินหรือเหง้ามีรสขมเมา ขับปัสสาวะ แก้บวมน้ำ แก้ตกขาว แก้โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ แก้แผลหนอง อักเสบ บวม ฆ่าพยาธิ เป็นยาถ่าย เหง้าสดมีพิษมาก ใช้ในปริมาณมากจะทำให้ท้องร่วง อาเจียนอย่างรุนแรง ต้องทำให้สุกก่อน ราก รสขมเมา ขับพยาธิ ขับเสมหะ แก้ไอ แก้โรคผิวหนัง เหง้า ตำพอกบริเวณสะดือ รักษาโรคท้องมาน ในเหง้าพบสาร diosgenin มีฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนเพศหญิง และเป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์ยาสเตียรอยด์ : รักษากระเพาะปัสสาวะอักเสบ
24 องุ่นป่า ยาพื้นบ้านอีสานใช้ รากฝนดื่มแก้ไข้ ผสมลำต้นหรือรากรสสุคนธ์ เหง้าสัปปะรด ลำต้นไผ่ป่า ลำต้นไผ่ตง งวงตาล เปลือกต้นสะแกแสง ลำต้นหรือรากเถาคันขาว ผลมะพร้าว ลำต้นรักดำ ลำต้นก้อม ลำต้นโพ หญ้างวงช้างทั้งต้น รากกระตังบาย เปลือกต้นมะม่วง ลำต้นหนามพรม รากลำเจียก ลำต้นอ้อยแดง ลำต้นเครือพลูช้าง เหง้าหัวยาข้าวเย็นโคก และเปลือกต้นกัดลิ้น ต้มน้ำดื่ม รักษาฝีแก้อาการบวม : รากฝนดื่มแก้ไข้ ยอดอ่อน รับประทานเป็นผักสดมีรสหวานอมเปรี้ยว ผลอ่อนต้มตำน้ำพริก
25 ขาเปีย ตามความเชื่อสูตรยาโบราณพื้นบ้านอีสานบอกว่า เป็นยาบำรุงกำหนัด ทำให้มีกำลังวังชาขณะปฏิบัติกิจสามีภรรยาได้ยาวนานไม่เหน็ดเหนื่อย : บำรุงกำหนัด
26 พลับพลา แก่นช่วยแก้หืด ด้วยการใช้แก่นพลับพลาผสมกับแก่นโมกหลวง แก่นจำปา ลำต้นกำแพงเจ็ดชั้น ลำต้นสบู่ขาว : รักษาโรคลำไส้ เป็นยาบำรุงโลหิตสตรี
27 ขี้ก่า เปลือกต้นผสมลำต้นเม่าสร้อย ยอดหวายป่า เปลือกต้นส้านใบเล็ก และลำต้นตะครอง ฝนน้ำทา รักษาอาการบวม : แก้โรคผิวหนังอักเสบ
28 ผักหวานป่า ยอด เป็นอาหารช่วยแก้ร้อนในกระหายน้ําและระบายความร้อนหรือใช้ปรุงเป็นยาเขียวเพื่อลดไข้ ลดความร้อน ปัจจุบันนํามาพัฒนาเป็นชาผักหวานป่าเป็น เครื่องดื่มต้านอนุมูลอิสระ ราก ทํายา แก้ไข้ แก้ดีพิการ แก้ร้อนในกระหายน้ํา แก้กระสับกระส่าย : ป้องกันโรคเบาหวาน แก้ร้อนใน แก้ท้องเสีย ขับลมถอนพิษไข้
29 เสม็ด ใบสดมีรสขมหอมร้อนใช้นำมากลั่นเป็น “น้ำมันเขียว” ใช้รับประทานช่วยขับเสมหะ แก้หลอดลมอักเสบ (น้ำมันเขียว-ใช้ภายใน)น้ำมันที่สกัดได้จากใบใช้เป็นยาดมเพื่อรักษาโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจได้ (น้ำมันเขียว)น้ำมันเขียวใช้รับประทานเป็นยาขับลม แก้จุกเสียด ท้องอืด ท้องขึ้น ถ้ากินมากจะเป็นยาขับพยาธิ และมีฤทธิ์ทำให้ระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร (น้ำมันเขียว-ใช้ภายใน)ใช้ทำเป็นยาหม่องแก้ปวดศีรษะ ปวดหู และใช้อุดฟันแก้ปวดฟัน (น้ำมันเขียว-ใช้ภายนอก)ช่วยขับเหงื่อ (น้ำมันเขียว) : ขับลม เเก้จุกเสียด ท้องอืด
30 ลำบิดดง ยาพื้นบ้านอีสานใช้ ราก แช่น้ำดื่ม และอาบแก้ซางเด็ก (โรคของเด็กเล็ก มีอาการสำคัญคือ เบื่ออาหาร ซึม มีเม็ดขึ้นในปาก และคอ ลิ้นเป็นฝ้า) หรือเข้ายาแก้ประดง ผล รับประทานได้ ใบอ่อนรับประทานเป็นผักสด มีรสฝาดหวาน : ราก แช่น้ำดื่ม และอาบแก้ซางเด็ก (โรคของเด็กเล็ก มีอาการสำคัญคือ เบื่ออาหาร ซึม มีเม็ดขึ้นในปาก และค
31 ดอกนาเอี้ยง ชาวม้งจะใช้เหง้าใต้ดิน นำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยารักษาโรคความดันโลหิตต่ำ อาการหน้าซีด (เหง้า) ชาวไทใหญ่จะใช้รากนำมาดองกับเหล้าดื่มเป็นยาบำรุงกำลัง (ราก) หลายพื้นที่ริยมกินหน่ออ่อนและดอกอ่อนเป็นผัก โดยชาวม้งจะนิยมนำมาต้มกินกับไก่เป็นยาบำรุงกำลัง แก้ตัวเหลือง แก้อาการอ่อนเพลียไม่มีแรง (หน่อ,ดอก) คนเมืองจะใช้ลำต้นนำไปต้มกิน เชื่อว่าเป็นยาต้านโรคมะเร็ง (ลำต้น) ตำรายาสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานี จะใช้เหง้าเอื้องหมายนาเข้ายาแก้ซางเด็ก (เหง้า) ลำต้นนำมาย่างไฟคั้นเอาน้ำใช้หยอดหู แก้หูน้ำหนวก (ลำต้น)[4],[8]ส่วนชาวไทใหญ่จะใช้ใบนำไปรมไฟ แล้วบีบเอาน้ำมาหยอดหู รักษาโรคหูเป็นหนอง (ใบ) : นำไปดอกไปทำเป็นยาสระผม ขจัดรังแก
32 กระเจียวขาว : หน่ออ่อน เป็นยาช่วยขับลม สรรพคุณจากดอกอ่อน เป็นยาช่วยขับลม สรรพคุณจากใบ – รักษาแผลสดและช่วยห้ามเลือด
33 อีนูน เป็นยาแก้โรคประดง ปวดขา ใบอ่อน ยอดอ่อน ผลอ่อนกินเป็นผัก บำรุงตับ รากบำรุงเลือด : ใช้บำรุงโลหิต โดยเฉพาะสตรีหลังคลอด
34 ผักอูบอีบ :
35 โมกเครือ แก้โรคทางเดินปัสสาวะ แก้ไตและตับพิการ บำรุงกำลังตอนฟื้นไข้ ช่วยเจริญอาหาร เป็นยาระบาย ขับระดู :
36 มะรุมป่า : ปลือกใช้เป็นยาสมุนไพร สมานแผลในปาก ลำคอและเหงือกได้ และแก้ปวดฟัน
37 โคคลาน : ใช้ เถา แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ครั่นตัว เส้นตึง แก้ปวดหลังปวดเอว แก้กระษัย ขับปัสสาวะ แก้ไตพิการ บำร
38 ยางน่องเครือ :
39 รากสามสิบ :
40 ตาลเดี่ยว :
41 ไข่เน่า ช่วยรักษาพิษตานซาง เปลือกต้นช่วยแก้ไข้ ช่วยแก้โรคเกล็ดกระดี่ขึ้นนัยน์ตา เปลือกต้นมีรสฝาด : ช่วยบำรุงกระดูก แก้กระดูกผุสำหรับผู้สูงอายุได้ดี
42 ติ้วขาว ช่วยบำรุงโลหิต ฟอกโลหิต เปลือกต้นนำมาต้มกับน้ำกินแก้ธาตุพิการ ช่วยแก้ประดง ผักติ้วเป็นผักที่มีวิตามิน : ช่วยบำรุงโลหิต ฟอกโลหิต
43 สมัดน้อย แก้หืด ขับพยาธิ แก้เสมหะและลมทั้งปวง ขับลม : เป็นยารสเผ็ดร้อน แก้หืด ขับพยาธิ แก้เสมหะและลมทั้งปวง ขับลม
44 เค็ง ผลต้มรับประทานแก้ไข้ร้อนใน ผลสุกรับประทานได้ ปรุงเป็นขนมหวาน ผลอ่อนนำมาต้มรับประทานได้ : แก้ไข้ร้อนใน
45 หมี่ ตำรายาไทยจะใช้รากต้นหมี่เป็นยาบำรุงกำลัง (ราก) รากใช้เป็นยาแก้ไข้ออกฝีเครือ (ราก) เปลือกสดใช้อมแก้ปวด : เป็นยาบำรุงกำลัง
46 ตานกกด รสฝาดขมมัน ถ่ายพิษเสมหะ และโลหิต แก้กระษัย ปวดเมื่อย ถ่ายพิษตับ แก้ตับทรุด ต้มดื่มแก้ปวดท้อง คลายอารท้องเฟ้อ : ถ่ายพิษเสมหะ และโลหิต แก้กระษัย ปวดเมื่อย ถ่ายพิษตับ แก้ตับทรุด
47 นมแมว เนื้อไม้และรากใช้ต้มกับน้ำรับประทานเป็นยาแก้ไข้กลับ ไข้ซ้ำ ไข้หวัด ไข้ทับระดู และไข้เพื่อเสมหะ : เป็นยาแก้ไข้กลับ ไข้ซ้ำไข้หวัด ไข้ทับระดู และไข้เพื่อเสมหะ
48 ขันทองพยาบาท เปลือกต้นมีรสเมาเบื่อ ใช้เป็นยาบำรุงเหงือก ใช้รักษาเหงือกอักเสบ ทำให้ฟันทน เหงือกแข็งแรง (เปลือกต้น) : แก้ลมพิษ แก้โรคเรื้อน โรคผิวหนังทุกชนิด แก้ไข้ และแก้กามโรค
49 มะกอกเลื่อม ชาวเขาเผ่าแม้วจะใช้มะกอกเกลื้อนทั้งต้นนำมาต้มกับน้ำอาบ ช่วยบำรุงร่างกายให้มีกำลังแข็งแรง (ทั้งต้น) : ช่วยขับเสมหะ,ยารักษาโรคลักปิดลักเปิดหรือโรคเลือดออกตามไรฟัน
50 สาบเสือ ช่วยสมานแผล ห้ามเลือด, อกสาบเสือมีสรรพคุณช่วยชูกำลัง แก้อาการอ่อนเพลีย (ดอก)ช่วยบำรุงหัวใจ (ดอก) : ดอกสาบเสือมีสรรพคุณช่วยชูกำลัง แก้อาการอ่อนเพลีย (ดอก) ช่วยบำรุงหัวใจ (ดอก) ช่วยแก้ตาฟาง ตาแฉะ (ใบ)
51 ปอแดง เปลือกใช้ผสมเป็นยาแก้ลม สวิงสวายใจสั่น ร่างกายอ่อนเพลีย : เป็นยาแก้ลม สวิงสวายใจสั่น ร่างกายอ่อนเพลีย
52 ตะขบป่า ใบแห้งนำมาต้มกับน้ำกินเป็นยาบำรุงร่างกาย (ใบ) ผลใช้กินเป็นยาแก้อ่อนเพลีย (ผล) แก่นหรือรากใช้กินเป็นยา : เป็นยาขับเสมหะ ขับเหงื่อ แก้อาการคลื่นไส้อาเจียน
53 กอกกัน มีรสขม ใช้สมานแผล และห้ามเลือด แก้ท้องอืดเฟ้อ แก้ปวดท้อง เป็นยาธาตุ หรือช่วยเจริญอาหาร ใช้แก้ปวด ใช้ : ใช้สมานแผล และห้ามเลือด แก้ท้องอืดเฟ้อ แก้ปวดท้อง เป็นยาธาตุ หรือช่วยเจริญอาหาร ใช้แก้ปวด แก้ไอเป็นเ
54 ขี้ตุ่น ราก ทุบกับเกลือ อมแก้ปวดฟัน รากใช้รักษาอาการปัสสาวะหยด ผสมกับสมุนไพรอื่น ต้มน้ำดื่มแก้กษัยเส้น : แก้ปวดท้อง แก้อาหารเป็นพิษ แก้ปวดเมื่อยเนื่องจากถูกความร้อนความเย็นหรือแดดและลมมาก แก้ฝีประคำร้อย กั
55 ยางบง เนื้อไม้นิยมใช้ไม้บงทำเครื่องมือเครื่องใช้เปลือกบดให้ละเอียดผสมขี้เลื่อยและการใช้ทำธูปและผสมกำมะถัน : ใช้ทำธูปและผสมกำมะถันใช้ทำยากันยุงได้ดี
56 ตะขาบบิน ดับพิษต่าง ๆ แก้อาการปวด โรคผื่นคัน โดยใช้ใบสด 10-15 กรัม ล้างให้สะอาดโขลกให้ละเอียด ผสมเหล้าโรงเล็ก : แก้ร้อนใน ดับพิษต่างๆ พิษเลือด พิษร้อน พิษฝี แก้ฝีในปอด แก้ไอ
57 เครือหมาน้อย ทั้งต้นกรุงเขมามีรสขม ชุ่มหวานเล็กน้อย เป็นยาอุ่น ใช้เป็นยาฟอกเลือด กระจายเลือด แก้เลือดกำเดา : เป็นยาฟอกเลือด กระจายเลือด แก้เลือดกำเดาไหล
58 พลองเหมือด พลองเหมือดมีสรรพคุณเป็นสมุนไพรใช้บำรุงเลือด บำรุงน้ำนม เมื่อนำไปผสมกับเหมือดโลดใช้ปรุงเป็นยาแก้ไข้ปวด : ใบ ต้มรักษาโรคโกโนเรีย ต้นและใบ ต้มน้ำดื่ม เป็นยาขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะขัด รากหรือลำต้น ต้มน้ำดื่ม รั
59 โด่ไม่รู้ล้ม ช่วยบำรุงหัวใจ (ทั้งต้น) ลำต้นและใบใช้เป็นยาบำรุงเลือด เหมาะสำหรับสตรีที่มีประจำเดือนมาไม่เป็นปกติ : ใช้เป็นยาบำรุงร่างกาย บำรุงกำลัง ด้วยการใช้รากต้มเป็นน้ำดื่ม หรือใช้ดองเหล้าดื่มผสมเข้ากับสมุนไพรกำล
60 ส้มลม ลำต้นใช้ต้มกับน้ำดื่มช่วยแก้ลมวิงเวียน (ลำต้น) หรือจะใช้ใบสด ๆ นำมาเคี้ยวกินเป็นยาแก้ลมวิงเวียน หน้ามืด : ยาขับลม ช่วยให้ผายลม
61 ส่องฟ้า ใช้ ราก แก้เจ็บตา โดยฝนรวมกับรากหมี่ ทาแก้ฝี ใช้รากต้มน้ำดื่ม แก้ไข้ปวดศีรษะ แก้ผิดสำแดง : แก้ผิดสำแดง
62 ส้มกุ้ง ใช้เป็นยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ลดไขมันในเลือด ด้วยการใช้เมล็ดส้มกุ้งที่แห้งแล้วนำมาป่นให้เป็นผง : รากและใบใช้เป็นยาแก้โลหิต
63 โลดทะนงแดง รากใช้ต้มกับน้ำดื่ม ช่วยแก้วัณโรค (ราก) ช่วยแก้หืด (ราก) ช่วยทำให้อาเจียน โดยใช้รากนำมาต้มกับน้ำดื่ม : ใช้เป็นยาระบาย,ช่วยในการคุมกำเนิด
64 กระทือ ใช้เป็นยาบำรุงกำลัง (เหง้า) ช่วยบำรุงธาตุในร่างกาย (ดอก) ช่วยขับน้ำย่อย ช่วยให้เจริญอาหาร : ช่วยขับเลือดเน่าร้ายในเรือนไฟ,แก้เบาเป็นโลหิต
65 กระเจียวแดง ดอกอ่อนมีรสเผ็ดร้อน กลิ่นหอม ใช้เป็นยาขับลมในกระเพาะอาหาร ช่วยบรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และลดกรดใน : ดอกอ่อนมีรสเผ็ดร้อน กลิ่นหอม ใช้เป็นยาขับลมในกระเพาะอาหาร ช่วยบรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และลดกรดใน
66 หม้อ ใช้แก่น รสสุขุม (จืดมันฝาดหวานร้อน) ปรุงยาต้มดื่มแก้ไข้ ถ่ายเส้นเอ็น แก้อัมพฤกษ์อัมพาต เหน็บชา : รักษากามโรค
67 ตูบหมูบ ปมราก ใช้รักษาอาการคัดจมูก เหง้าแก้หวัด ขับลม แก้โรคกระเพาะอาหาร และเป็นยาระบาย ใบ เป็นยาขับเสมหะ รับประทานเป็นผักสด หรือผสมในอาหารคาวเพื่อเพิ่มความหอม : ช่วยแก้หวัด โดยใช้หัวตำผสมกับหัวหอม ใช้สุมกระหม่อมเด็กจะช่วยบรรเทาอาการได้
68 มะขามป้อม ช่วยบำรุงและรักษาสายตา ช่วยในการบำรุงประสาทและสมอง มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน : มีฤทธิ์ในการต่อต้านการเกิดโรคมะเร็ง มะขามป้อมเป็นตัวช่วยในการลดคอเลสเตอรอล ลดน้ำตาล ลดไขมันในเลือดได
69 บอระเพ็ด บอระเพ็ดช่วยบำรุงผิวพรรณให้สดใส หน้าตาสดชื่น (ใบ) มีสารต้านอนุมูลอิสระ มีส่วนช่วยในการชะลอวัย : แก้ร้อนใน แก้พิษฝีดาษ ช่วยเจริญอาหาร บำรุงไฟธาตุ รักษาโรคกระเพาะ
70 มะดูก รากมีรสมันเมา ใช้รับประทานเป็นยาบำรุงกระดูก ดับพิษในกระดูก (ราก) ลำต้นมะดูก นำมาตากแห้งผสมกับลำต้นฮ่าง : มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย
71 มะเม่า ผลมะเม่าสุกจะมีสารแอนโทไซยานิน (Anthocyanin) ที่ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันมะเร็ง ช่วยขจัดสารพิษ : ผลมะเม่าสุกจะมีสารแอนโทไซยานิน (Anthocyanin) ที่ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันมะเร็ง ช่วยขจัดสารพิษอ
72 หนอนตายหยาก ใช้ ราก ต้มน้ำดื่ม ถ่ายพยาธิตัวจี๊ด นำรากผสมกับหญ้าหวายนาและชะอม ต้มน้ำดื่ม ถ่ายพยาธิตัวจี๊ด คั้นน้ำ : หง้าหรือรากมีรสขมชุ่ม เป็นยาร้อนเล็กน้อย มีพิษเล็กน้อย ออกฤทธิ์ต่อปอดและม้าม ใช้เป็นยาแก้ไอเย็น ไอเร
73 เปราะป่า หัวหรือเหง้าใต้ดินใช้ผสมกับตัวยาอื่นเพื่อเข้าตำรับยา ใช้เป็นยาอายุวัฒนะ (หัว) ใช้เป็นยาแก้ไข้ (หัว) : หัวหรือเหง้าใต้ดินใช้ผสมกับตัวยาอื่นเพื่อเข้าตำรับยา ใช้เป็นยาอายุวัฒนะ, ใช้เป็นยากระทุ้งพิษต่าง ๆ
74 เถาประสงค์ ตำรับยาบำรุงร่างกาย จะใช้รากเถาประสงค์และรากตำยาน อย่างละ 1 กำมือเท่ากัน นำมาต้มกับน้ำท่วมยา : ตำรายาพื้นบ้านจะใช้ต้นหรือรากเถาประสงค์ ผสมกับต้นโมกหลวง เถาย่านาง และรากส้มลม นำมาต้มกับน้ำดื่มเป็น
75 นมสาว เปลือก และแก่นลำต้น (รสฝาด นำมาต้มน้ำดื่ม) ช่วยบำรุงน้ำนม ช่วยเพิ่มน้ำนม ช่วยกระตุ้นการหลั่งน้ำนมสำหรับแม่ลูกอ่อน : แก้คลื่นเหียน อาเจียน แก้ปวดเมื่อยเอว ปวดเมื่อยตามร่างกาย ทาแก้อาการร้อนใน
76 มะตาด ผลมะตาดมีสารฟลาโวนอยด์และสารฟีนอลิก ซึ่งมีฤทธิ์ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ (ผล) ผลมีรสเปรี้ยวใช้รับประทาน : ต้านการชัก ลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาระบาย แก้ปวดท้อง
77 พลอง เนื้อไม้และรากใช้ฝนหรือต้มดื่มเป็นยาแก้ไข้ แก้ไข้พิษ ไข้หัด (เนื้อไม้, ราก) เนื้อไม้และรากใช้ฝนหรือตำ : ดื่มเป็นยาถอนพิษผิดสำแดง ดับพิษร้อน และดับพิษภายในต่าง ๆ
78 ธนนไชย ลำต้นหรือราก ต้มน้ำดื่ม แก้ผิดสำแดง : ลำต้นหรือราก ต้มน้ำดื่ม แก้ผิดสำแดง
79 มะม่วงหัวแมงวัน ใบอ่อน ยอดอ่อนรับประทานเป็นผักสดกับน้ำพริก เนื้อในเมล็ดรับประทานได้ : ใบอ่อน ยอดอ่อนรับประทานเป็นผักสดกับน้ำพริก เนื้อในเมล็ดรับประทานได้
80 มะม่วงป่า ผลอ่อน มีวิตามินซีป้องกันโรค ใบอ่อน ใช้เป็นผักสด" : ผลอ่อน : มีวิตามินซีป้องกันโรค ผลสุก : ต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันมะเร็ง และต้านความชรา ใบอ่อน : ใช้เป็น
81 มะกอก ผลใช้รับประทานเป็นผลไม้ได้ ส่วนผลสุกจะนิยมนำมาใส่ส้มตำ น้ำพริก ยำ ยอดอ่อนใช้รับประทานเป็นผักได้ : ผลใช้รับประทานเป็นผลไม้ได้ ส่วนผลสุกจะนิยมนำมาใส่ส้มตำ น้ำพริก ยำ ยอดอ่อนใช้รับประทานเป็นผักได้ โดยใ
82 นมควาย เนื้อไม้และราก แก้ไข้กลับไข้ซ้ำ ต้มกินแก้ไข้เนื่องจากกินของแสลง : เนื้อไม้และราก แก้ไข้กลับไข้ซ้ำ ต้มกินแก้ไข้เนื่องจากกินของแสลง ราก แก้ผอมแห้งสำหรับสตรีที่อยู่ไฟไม
83 กำแพงเจ็ดชั้น เนื้อไม้ ต้มน้ำดื่ม แก้โรคไต แก้ท้องผูก ยาระบาย แก้ลมตีขึ้น ลำต้น แก้ปวดเมื่อย : เนื้อไม้ ต้มน้ำดื่ม แก้โรคไต แก้ท้องผูก ยาระบาย แก้ลมตีขึ้น ลำต้น แก้ปวดเมื่อย
84 ส้านใบเล็ก ราก แช่น้ำดื่ม แก้อาการท้องเสีย แก่นหรือราก ฝนน้ำกิน แก้ไข้ ผลสุก รสเปรี้ยว นำมาปรุงรสอาหาร : ราก แช่น้ำดื่ม แก้อาการท้องเสีย แก่นหรือราก ฝนน้ำกิน แก้ไข้ ผลสุก รสเปรี้ยว นำมาปรุงรสอาหาร
85 ส้านใหญ่ เปลือกต้น ต้มน้ำดื่มแก้ท้องเสีย เคี้ยวช่วยให้เหงือกและฟันกระชับแน่น : เปลือกต้น ต้มน้ำดื่มแก้ท้องเสีย เคี้ยวช่วยให้เหงือกและฟันกระชับแน่น
86 ตะเคียน เปลือก เนื้อไม้ มีรสฝาด ใช้ฆ่าเชื้อโรค แก้อักเสบ ห้ามเลือด เปลือก รสฝาดเมา ใช้สมานแผล แก้บิดมูกเลือด : เปลือก เนื้อไม้ มีรสฝาด ใช้ฆ่าเชื้อโรค แก้อักเสบ ห้ามเลือด เปลือก รสฝาดเมา ใช้สมานแผล แก้บิดมูกเลือด
87 ยอป่า มีสรรพคุณเป็นยาแก้เบาหวาน แก่นมีรสขมร้อน นำมาต้มหรือดองกับเหล้าดื่มเป็นยาบำรุงโลหิต ช่วยแก้อาการปวดศีษะ : ยาแก้เบาหวาน
88 สะแบง เปลือก น้ำต้มเปลือกใช้ทาถูนวด แก้ปวดข้อ ยางไม้ ใส่แผล รักษาแผล และโรคเรื้อน กินแก้โรคหนองใน ใช้ยา : เปลือก น้ำต้มเปลือกใช้ทาถูนวด แก้ปวดข้อ ยางไม้ ใส่แผล รักษาแผล และโรคเรื้อน กินแก้โรคหนองใน ใช้ยาเ
89 พลวง ใบ รสฝาด ต้มน้ำผสมน้ำเกลือ อมแก้ปวดฟัน ฟันโยกคลอน ใบและยาง รสฝาดร้อน กินเป็นยาตัดลูก (ทำให้ไม่มีบุตร) : ใบ รสฝาด ต้มน้ำผสมน้ำเกลือ อมแก้ปวดฟัน ฟันโยกคลอน ใบและยาง รสฝาดร้อน กินเป็นยาตัดลูก (ทำให้ไม่มีบุตร
90 เต็ง เปลือกต้นใช้เป็นยาสมานแผล ห้ามเลือด รักษาแผลเรื้อรัง และแผลพุพองให้สมานตัวเร็ว : เปลือกต้นใช้เป็นยาสมานแผล ห้ามเลือด รักษาแผลเรื้อรัง และแผลพุพองให้สมานตัวเร็ว
91 รัง เปลือก ใช้แก้โรคท้องร่วง ใบ ตำพอก รักษาแผลพุพอง ชันยาง ใช้ผสมน้ำมันทาไม้ ยาแนวเรือ : เปลือก ใช้แก้โรคท้องร่วง ใบ ตำพอก รักษาแผลพุพอง ชันยาง
92 พะยอม ดอก รสหอมสุขุม ปรุงเป็นยาแก้ลม บำรุงหัวใจ ลดไข้ เปลือกต้น รสฝาด ต้มดื่มแก้ท้องร่วง แก้ลำไส้อักเสบ : ดอก รสหอมสุขุม ปรุงเป็นยาแก้ลม บำรุงหัวใจ ลดไข้ เปลือกต้น รสฝาด ต้มดื่มแก้ท้องร่วง แก้ลำไส้อักเสบ ฝน
93 ตะโกนา ผลเอามาตากแดด ต้มเอาน้ำดื่มเป็นยาแก้ท้องร่วง ท้องเสีย แก้อาการบวม ขับพยาธิ แก้ษัย แก้ฝีเน่า : ผลเอามาตากแดด ต้มเอาน้ำดื่มเป็นยาแก้ท้องร่วง ท้องเสีย แก้อาการบวม ขับพยาธิ แก้ษัย
94 มะค่าแต้ เปลือกใช้ต้มแก้ซาง แก้ลิ้นเป็นฝ้า : เมล็ดแก่เมื่อนำมาเผาไฟแล้วกะเทาะเปลือกออก เอาแต่เนื้อข้างในมารับประทานเป็นอาหารว่างได้ โดยเนื้อจะมีล
95 ราชพฤกษ์ เนื้อในฝัก รสหวานเอียน แก้ท้องผูก ขับเสมหะ ระบายพิษไข้ ช่วยระบายท้องเด็ก เป็นยาระบายที่ไม่ปวดมวน : เนื้อในฝัก รสหวานเอียน แก้ท้องผูก ขับเสมหะ ระบายพิษไข้ ช่วยระบายท้องเด็ก เป็นยาระบายที่ไม่ปวดมวน
96 เสี้ยวป่า ใบเสี้ยวป่า ใช้ผสมกับลำต้นกำแพงเจ็ดชั้น นำมาต้มกับน้ำดื่มวันละ 3 ครั้ง เป็นยาฟอกโลหิต : ใบเสี้ยวป่า ใช้ผสมกับลำต้นกำแพงเจ็ดชั้น นำมาต้มกับน้ำดื่มวันละ 3 ครั้ง เป็นยาฟอกโลหิต
97 แสมสาร แก่น เป็นยาระบาย ขับเสมหะ ขับระดู : แก่น เป็นยาระบาย ขับเสมหะ ขับระดู
98 ติ้วแดง ใช้ต้นหรือราก ผสมลำต้นกำแพงเจ็ดชั้น ต้มน้ำดื่ม แก้กระษัยเส้น เป็นยาระบาย เปลือกต้น ใช้ทำสีย้อมใบอ่อน : แก้กระษัยเส้น เป็นยาระบาย
99 พฤกษ์ เปลือก ให้น้ำฝาด ใช้ฟอกหนัง รักษาแผลในปาก ลำคอ เหงือก ใบ ดับพิษร้อนทำให้เย็น เมล็ด รักษาโรคผิวหนัง : ยอดอ่อนและช่อดอกอ่อนรับประทานได้ รสมัน เนื้อไม้ แข็ง มีลายสวยงาม นิยมใช้ในงานก่อสร้าง ทำเครื่องมือทา
100 แดง เปลือกต้น ต้มน้ำดื่ม สมานธาตุ แก่น ต้มน้ำดื่ม แก้โรคกษัยโลหิต ดอก ต้มน้ำดื่ม เข้ายาแก้ไข้ : เปลือกต้น ต้มน้ำดื่ม สมานธาตุ แก่น ต้มน้ำดื่ม แก้โรคกษัยโลหิต ดอก ต้มน้ำดื่ม เข้ายาแก้ไข้
101 พะยูง เปลือกต้นหรือแก่น ผสมแก่นสนสามใบ แก่นแสมสาร และแก่นขี้เหล็ก ต้มน้ำดื่ม แก้มะเร็ง : เปลือกต้นหรือแก่น ผสมแก่นสนสามใบ แก่นแสมสาร และแก่นขี้เหล็ก ต้มน้ำดื่ม แก้มะเร็ง เปลือกต้นหรือแก่น ผ
102 ฉนวน ราก ป้องกันรังแค เปลือกต้น ผสมลำต้นตาปู ลำต้นตาเสือ ต้มน้ำดื่ม แก้คอพอก : ราก ป้องกันรังแค เปลือกต้น ผสมลำต้นตาปู ลำต้นตาเสือ ต้มน้ำดื่ม แก้คอพอก แก่น แก้ขี้เรื้อนใหญ่ ขี้เรื
103 ประดู่ เปลือก ให้น้ำฝาดใช้ฟอกหนัง : เปลือก ให้น้ำฝาดใช้ฟอกหนัง
104 กระบก เนื้อในเมล็ด มีรสมันร้อน บำรุงเส้นเอ็น บำรุงไขข้อ แก้ข้อขัด บำรุงไต ฆ่าพยาธิในท้อง ไม่ระบุส่วนที่ใช้ : เนื้อในเมล็ด มีรสมันร้อน บำรุงเส้นเอ็น บำรุงไขข้อ แก้ข้อขัด บำรุงไต ฆ่าพยาธิในท้อง ไม่ระบุส่วนที่ใช้
105 จิกนา น้ำจากใบแก้ท้องเสีย เปลือกเป็นยาลดไข้ และรักษาไข้มาลาเรีย ผลแห้ไอ แก้หวัด เมล็ดแก้จุกเสียด : ใบแก้ท้องเสีย เปลือกเป็นยาลดไข้ และรักษาไข้มาลาเรีย ผลแห้ไอ แก้หวัด เมล็ดแก้จุกเสียด น้ำคั้นจากเมล็ด
106 งิ้ว เปลือกต้น ผสมเปลือกต้นนุ่น ต้มน้ำดื่ม แก้อาหารเป็นพิษ รักษาโรคบิด แก่น ใช้เป็นส่วนผสมเข้ายารักษาแผล : เปลือกต้น ผสมเปลือกต้นนุ่น ต้มน้ำดื่ม แก้อาหารเป็นพิษ รักษาโรคบิด แก่น ใช้เป็นส่วนผสมเข้ายารักษาแผลน
107 มะหาด แก่น รสร้อน ขับพยาธิตัวตืด แก้ลม แก้ท้องอืดเฟ้อ แก้กษัย แก้เส้นเอ็นพิการ แก้เบื่ออาหาร แก้ลม ขับโลหิด : แก่น รสร้อน ขับพยาธิตัวตืด แก้ลม แก้ท้องอืดเฟ้อ แก้กษัย แก้เส้นเอ็นพิการ แก้เบื่ออาหาร แก้ลม ขับโลหิ
108 ข่อย กิ่งสดช่วยทำให้ฟันทนแข็งแรง ฟันไม่ผุ ไม่ปวดฟัน ด้วยการใช้กิ่งสดประมาณ 5-6 นิ้วฟุต นำมาหั่นแล้วต้มใส่ : ยาบำรุงหัวใจ
109 น้ำใจใคร เนื้อไม้ รสฝาดเฝื่อนเล็กน้อย ต้มน้ำดื่ม แก้ปวดเมื่อย แก้พิษเมาเบื่อ หรือฝนทารักษาบาดแผล ลำต้น : เนื้อไม้ รสฝาดเฝื่อนเล็กน้อย ต้มน้ำดื่ม แก้ปวดเมื่อย แก้พิษเมาเบื่อ หรือฝนทารักษาบาดแผล ลำต้น แก้โรค
110 หนามแท่ง ทั้งต้น รสเฝื่อนเล็กน้อย ปรุงยารักษาโรคเบาหวาน แก้โรคมะเร็งต่างๆ เช่น มะเร็งตับ มะเร็งในกระดูก : ทั้งต้น รสเฝื่อนเล็กน้อย ปรุงยารักษาโรคเบาหวาน แก้โรคมะเร็งต่างๆ เช่น มะเร็งตับ มะเร็งในกระดูก แก้วั
111 คำหมอกหลวง แก่นนำไปใช้ปรุงเป็นยารักษาโรคเบาหวาน : แก่นนำไปใช้ปรุงเป็นยารักษาโรคเบาหวาน เนื้อไม้ใช้เข้ายากับโมกเตี้ยและสามพันเตี้ย ใช้ต้มกับน้ำเป็นยาด
112 หญ้าหนวดแมว ราก - ขับปัสสาวะ ทั้งต้น - แก้โรคไต ขับปัสสาวะ รักษาโรคกระษัย รักษาโรคปวดตามสันหลัง และบั้นเอว : ช่วยลดความดันโลหิต
113 กอมก้อยลอดขอน ราก มีกลิ่นเฉพาะตัวนำมาใช้อมแก้เจ็บคอได้ เป็นยาบำรุงร่างกายแก้อ่อนเพลีย โดยนำรากกอมกอยลอดขอน : แก้ไอ
114 ส้มกบ ช่วยบำรุงธาตุในร่างกาย โดยใช้ใบสดนำมาแกงกิน แถมยังช่วยทำให้เจริญอาหาร และช่วยในการย่อยอาหารอีกด้วย : แก้ปัสสาวะขัด
115 ตะไก้ อาการปวดประจำเดือนหรืออาการประจำเดือนผิดปกติ หัว รักษาบาดแผลเรื้อรัง รักษาตะมอยหรือตาเดือน เถา บำรุง : ยาชูกำลัง
116 เล็บเหยี่ยว ราก เปลือกต้น รสจืดเฝื่อนเล็กน้อย ต้มดื่มเป็นยาขับระดูขาว ขับปัสสาวะ แก้มดลูกพิการ แก้ฝีมุตกิด แก้ฝี : แก้ปัสสาวะขัดและหนองใน
117 ไส้ไก่ รากบำรุงกำลังช่วงฟื้นไข้ แก้ไตพิการ (ปัสสาวะขุ่นข้น สีเหลืองหรือแดง มีอาการแน่นท้องกินอาหารไม่ได้) : แก้กามโรค
118 กาแฟป่า เมล็ดกาแฟ มีสรรพคุณช่วยลดน้ำระดับตาลในเลือดได้ โดยการใช้เมล็ดที่คั่วแล้ว นำมาชงกับน้ำร้อน เป็นเครื่องดื่ม : ยาระบาย ขับลม
119 ต้นเปาะ ช่วยแก้ลมพิษ ผดผื่นคัน (หัว) ช่วยรักษาเลือดที่เจือด้วยลมพิษ (หัว) ใบเปราะป่าช่วยแก้เกลื้อนช้าง (ใบ) : แก้ท้องอืด
120 กรุงเขม่า ทั้งต้นกรุงเขมามีรสขม ชุ่มหวานเล็กน้อย เป็นยาอุ่น ใช้เป็นยาฟอกเลือด กระจายเลือด แก้เลือดกำเดา : แก้ไข้ ร้อนใน
121 เปล้าใหญ่ เปล้าใหญ่ช่วยบำรุงโลหิต (เปลือกต้นและใบ) ใบใช้เป็นยาบำรุงกำลัง (ใบ) ใบมีรสร้อน เมาเอียน : แก้ผื่นคัน
122 ปลาไหลเผือก ถ่ายพิษต่างๆ ถ่ายฝีในท้อง ถ่ายพิษไข้พิษเสมหะ และโลหิต แก้ไข้ แก้ไข้มาลาเรีย แก้ลม แก้วัณโรคระยะบว : แก้พิษต่างๆ
123 เปาะป่า ช่วยแก้ลมพิษ ผดผื่นคัน (หัว) ช่วยรักษาเลือดที่เจือด้วยลมพิษ (หัว) ใบเปราะป่าช่วยแก้เกลื้อนช้าง (ใบ) : ยาแก้เสมหะ, ขับลมในลำไส้
124 เปล้าน้อย ตำรายาไทย ใบ รสร้อน แก้คันตามตัว รักษาแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ได้ดี เปลือกและใบ รักษาโรคท้องเสีย : บำรุงธาตุ แก้ลำไส้กระเพาะอาหาร
125 ฝาง แก่นฝาง - รสขื่นขมหวาน ฝาด รับประทานเป็นยาบำรุงโลหิตสตรี ขับประจำเดือน แก้ปอดพิการ ขับหนอง : บำรุงโลหิต
126 ผักสาบ ช่วยลดไข้ และ ช่วยแก้อาการวิงเวียนศีรษะได้เป็นอย่างดี ผักสาบ มีรสขมหวานสามารถเรียกน้ำย่อยทำให้เจริญอาหาร : ใช้บำรุงโลหิต โดยเฉพาะสตรีหลังคลอด แก้ไข้โดยเฉพาะไข้ออกตุ่ม
127 มะกล่ำ ใบมีรสฝาดเฝื่อน ใช้ต้มกินเป็นยาบำรุงกำลัง (ใบ) ใบใช้ต้มกินเป็นยาบำรุงธาตุในร่างกาย (ใบ) :

ข้อมูลหมอสมุนไพร

ลำดับ ชื่อ นามสกุล เบอร์โทร จัดการ
1 นายเสาร์ แสงไข
2 นายสุชาติ พรมวงศ์ 0952124103
3 นายทองดี ปะริโต 0640641722
4 นายสมาน หมื่นสีพรม
5 นายสมหมาย เยียวรัมย์
6 นายประนิตย์ จันทร์นพคุณ 0805987420
7 นาย สวัสดิ์ ชิมรัมย์ 085-611-5201
8 ณรงค์ ซาไธสง 0885801594
9 นายสมจิต วระกฎ 0620630458
10 สมจิต สุหะ 0648925065
11 อำพร ชาติดำดี 0625689289