--- Main Menu
หน้าหลัก
จัดการคน
ข้อมูลพรรณไม้,พืชสมุนไพรและสิ่งมีชีวิต
หน้าเว็บ
ออกจากระบบ
หน้าหลัก
แบบสำรวจข้อมูลของพรรณไม้และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ข้อมูลพรรณไม้
แก้ไขข้อมูล
ข้อมูลพรรณไม้
ชื่อภาพ:
ชื่อภาพ:
ชื่อภาพ:
ชื่อภาพ:
ชื่อภาพ:
ชื่อไทย
ชื่อในท้องถิ่นที่สำรวจ
ชื่ออื่น
ชื่อวิทยาศาสตร์
ชื่อวงศ์
ลักษณะต้น
ไม้เลื้อยล้มลุก หลายฤดู ลำต้น ไม่มีเนื้อไม้ ใบ เดี่ยวรูปหัวใจเว้าลึกเป็น 5 พู ผิว ใบอ่อนมีขน เป็นเส้นใยแมงมุมปกคลุม มีขนอ่อนสีชมพูที่มีต่อมแซม (glandularhair )ขอบใบหยักฟันเลื่อย ดอก ออกเป็นช่อแบบพานิเคิล (panicle) ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีชมพูอ่อน กลีบดอก 4 กลีบ การขยายพันธุ์ ด้วยเมล็ดหรือแตกยอดใหม่จากเหง้าใต้ดิน นิเวศวิทยาและการแพร่กระจาย พบทั่วไปตามป่าเบญจพรรณในที่ร่มชื้น เถาจะงอกในช่วงฤดูฝน จะออกดอกออกผลในเดือนกรกฎาคมถึงตุลาคม ประโยชน์และความสำคัญทางอาหาร
ลักษณะใบ
ลักษณะดอก
ลักษณะผล
ลักษณะเนื้อไม้
การใช้ประโยชน์
ยาพื้นบ้านอีสานใช้ รากฝนดื่มแก้ไข้ ผสมลำต้นหรือรากรสสุคนธ์ เหง้าสัปปะรด ลำต้นไผ่ป่า ลำต้นไผ่ตง งวงตาล เปลือกต้นสะแกแสง ลำต้นหรือรากเถาคันขาว ผลมะพร้าว ลำต้นรักดำ ลำต้นก้อม ลำต้นโพ หญ้างวงช้างทั้งต้น รากกระตังบาย เปลือกต้นมะม่วง ลำต้นหนามพรม รากลำเจียก ลำต้นอ้อยแดง ลำต้นเครือพลูช้าง เหง้าหัวยาข้าวเย็นโคก และเปลือกต้นกัดลิ้น ต้มน้ำดื่ม รักษาฝีแก้อาการบวม
แก้ไขข้อมูล